วันจันทร์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2557

การใช้สถิติเพื่อค้นหาความจริงในการตอบคำถามในงานวิจัย (Research Question)


เมื่อนักวิจัยเกิดข้อสงสัยหรือต้องการรู้ความจริงในเรื่องเรื่องที่กำลังสนใจ 
จำเป็นต้องเก็บข้อมูลในเรื่องนั้นเพื่อนำมาศึกษา ซึ่งข้อมูลที่ได้มานั้นจะประกอบไปด้วย 

1.ส่วนข้อมูลที่เป็นความจริง (Truth) 

2.ส่วนที่เป็นค่าคลาดเคลื่อน (Error

                โดยความคลาดเคลื่อนนั้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 


     2.1 ความคลาดเคลื่อนอย่างเป็นระบบ (Systematic error) หรือ อคติ (Bias)

     เกิดจากการวัดไม่เหมาะสม เครื่องชั่งไม่ถูกต้อง วิธีการสุ่มไม่ถูกต้อง เป็นต้น ซึ่งสามารถลดความคลาดเคลื่อนในส่วนนี้ได้โดยการเลือกใช้ระเบียบวิธีวิจัยให้เหมาะสม

     2.2 ความคลาดเคลื่อนอย่างสุ่มหรือสิ่งรบกวน (random error) 

     เป็นความคลาดเคลื่อนที่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างสุ่มในขั้นตอนการวัดและการสุ่ม ใช้สถิติเพื่อลดความความเคลื่อนเพื่อควบคุมหรือทำให้น้อยลง 


   ดังนั้น นักวิจัยควรให้ความสำคัญในการลดการคลาดเคลื่อนในงานวิจัยให้มีน้อยที่สุด เพื่อให้เกิดความแม่นยำ (precision) ความน่าเชื่อถือของงานวิจัยยิ่งขึ้นครับ 

การใช้สถิติเพื่อค้นหาความจริงเพื่อตอบคำถาม (Research Question) ในงานวิจัย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

คำสั่ง วิธีการวิเคราะห์ และแปลผล การวิเคราะห์ Ordered Probit and Logit Models in Stata (Ordinal Logistic Regression)

คำสั่ง วิธีการวิเคราะห์ และแปลผล การวิเคราะห์ Ordered Probit and Logit Models in Stata (Ordinal Logistic Regression) สำหรับการวิเคราะห์หาควา...